วันที่ 16 สิงหาคม 2553
วันเสาร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2553
วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553
กิจกรรมสัปดาห์ที่ 11 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
วันที่ 16 สิงหาคม 2553
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
- พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2545)
- พรบ.การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
สิทธิผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา
- ความรู้ความสารถในการอบรมเลี้ยงดู
- เงินดุดหนุน
- การหลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21
- การศึกษาในระบบ
- การศึกษาตามอัธยาศัย
- การศึกษานอกระบบ
การศึกษาในระบบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
-ไม่น้อยกว่า 12 ปี
-ระดับและประเภทเป็นไปตามกฎหมายกำหนด
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
-ระดับต่ำกว่าปริญญา
-ระดับปริญญา
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาภาคบังคับ
-9ปี
-ย่างปีที่ 7 ถึงย่างปีที่ 16 ยกเว้นสอบได้ปีที่ 9
-การนับอายุ เป็นไปตามกฎกระทรวง
สถานพัฒนาปฐมวัย
-ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ..
-สถานพัฒนาเด้กปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่นโรงเรียน
-โรงเรียนของรัฐ เอกชน
-โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่นศูนย์การรียน
-สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ...เป็นปชผู้จัด
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามาตรา 22-30
ผู้เรียน
-ทุกคนมีความสามารถ
-พัฒนาตนเองได้
-มีความสำคัญที่สุด
หลักสูตรแกนกลาง โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นฐาน
-ความเป็นพลเมืองดี
-เพื่อความเป็นไทย
-การดำรงชีวิต การประกอบอาชี การศึกษาต่อ
-หลักสูตรแกนกลาง
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษามาตรา 33-46
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐกระทรวงมีอำนาจหน้าที่
-ส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ
-กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน
-สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
-ส่งเสริม ประสานงานการศาสนา สิลปะ วัฒนธรรมและกีฬา
-ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 2การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อปท
-จัดการศึกษาได้ทุกระดับ
-ความพร้อมและความต้องการของท้องถิ่น
-กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชน
-มีความเป็นอิสระ
-กำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและมาตรฐานจากรัฐ
-เป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการบริหาร
-รัฐสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี สิทธิประโยชน์อื่น
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ประกันคุณภาพภายใน
-เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
-รายงานต่อต้นสังกัด
-เผยแพร่ต่อสาธารณชน
ประกันคุณภาพภายนอก
-โดยสำนักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ)
-อย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี
ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกููล
จัดสรรงบประมาณแผ่นดิน
-จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล รัฐและเอกชนเท่าเทียมกัน
-จัดสรรทุนการศึกษา ในรูปกองทุนกู้ยืม จากครอบครัวผู้ีรายได้น้อย
-จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หน้าที่ของรัฐ
-รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม และประสานการวิจัย การพัฒนา และการใช้
-ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
-จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์
-ส่งเสริมและสนับสนุนในการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตำรา สื่อ
-พัฒนาบุคลากรด้านผู้ผลิต และผู้ใช้
-ส่เสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีก
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
-พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
-พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544
-พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไทยให้ความคุ้มครองแก่งานที่ทำเสร็จแล้วทุกงาน โดยไม่จำเป็นที่จะต้องแสดงการสงวนลิขสิทธิ์ หรือดำเนินการจดทะเบียนลิขสิทธิ์งานนั้น เป็นการให้ความคุ้มครองโดยอัตโนมัติโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิตอล
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิตอล บทความบนเว็บเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์
การละเมิดลิขสิทธิ์
-ทำซ้ำหรือดัดแปลง
-เผยแพร่ต่อสาธารณชน
-ให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนางานดังกล่าว
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์
(1) วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(2) ใช้เพื่อประโยชน์ของเจ้าของสำเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(3) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนำผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(4) เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น
(5) ทำสำเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในจำนวนที่สมควรโดยบุคคลผู้ซึ่งได้ซื้อหรือได้รับโปรแกรมนั้นมาจากบุคคลอื่นโดยถูกต้อง เพื่อเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการบำรุงรักษาหรือป้องกันการสูญหาย
(6) ทำซ้ำ ดัดแปลง นำออกแสดง หรือทำให้ปรากฏเพื่อประโยชน์ในการพิจารณาของศาลหรือเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว
(7) นำโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
(8) ดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จำเป็นแก่การใช้
(9) จัดทำสำเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเก็บรักษาไว้สำหรับการอ้างอิง หรือค้นคว้าเพื่อประโยชน์ของสาธารณชน
บทกำหนดโทษ
ปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำเพื่อการค้าผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสี่ปีหรือปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาท ถึงแปดแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2544
พรบ.ฉบับนี้มุ่งเน้นการกำหนดให้ผลทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีผลเทียบเท่ากับข้อมูลในรูปแบบกระดาษ (Functional –equivalent Approach) ความเป็นกลางทางเทคโนโลยีหรือความเป็นกลางของสื่อ (Technology Neutrality/Media Neutrality) รวมไปถึงความศักดิ์สิทธิ์ในการแสดงเจตนา (Party Autonomy) โดยพรบ.ฉบับนี้จะเข้ามามีผลในการบังคับใช้ควบคู่ไปกับกฎหมายฉบับอื่นที่มี อยู่แล้ว มิได้เข้า
การบังคับใช้ควบคู่ไปกับกฎหมายฉบับอื่นที่มี อยู่แล้ว มิได้เข้ามาแทนที่การบังคับใช้กฎหมายฉบับอื่น
ประเด็นที่สำคัญ
- ข้อความที่อยู่ในรูปของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์จะมีผลผูกพันและบังคับใช้ทางกฏหมาย (มาตรา 7)
- การเก็บรักษาเอกสาร ต้นฉบับต้องมีวิธีการที่สามารถเข้าถึงและนำกลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่ เปลี่ยนแปลง มีความครบถ้วน และสามารถนำมาอ้างอิงในภายหลังได้ (มาตรา 8,12)
- การรับรองลายมือชื่อ จะต้องใช้วิธีการที่มีความเชื่อถือได้ โดยสามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อและสามารถพิสูจน์ได้ว่าเจ้าของลายมือชื่อ นั้นยอมรับว่าเป็นของตน (มาตรา 9)
- การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (มาตรา 35)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
เนื่องจากในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็นส่วนสำคัญของการประกอบกิจการและการดำรงชีวิตของมนุษย์
หากมีผู้กระทำด้วยประการใดๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานตามคำสั่งที่กำหนดไว้หรือทำให้การทำงานผิดพลาดไปจากคำสั่งที่กำหนดไว้ หรือใช้วิธีการใดๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูล แก้ไข หรือทำลายข้อมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ
หรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทำดังกล่าว
ลักษณะความผิด
1. การกระทำต่อระบบคอมพิวเตอร์
- การเข้าถึงระบบ (มาตรา 5)
- การเปิดเผยมาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบ (มาตรา 6)
- การรบกวนระบบ (มาตรา 10)
2. การกระทำต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์
- การเข้าถึงข้อมูล (มาตรา 7)
- การดักข้อมูล (มาตรา 8)
- การรบกวนข้อมูล (มาตรา 9)
- สแปมเมล์ (มาตรา 11)
- การนำเข้า/เผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม (มาตรา 14)
- การเผยแพร่ภาพตัดต่อในลักษณะหมิ่นประมาท (มาตรา 16)
3. การกระทำผิดต่อความมั่นคง (มาตรา 12)
4. การใช้ชุดคำสั่งกระทำความผิด (มาตรา 13)
5. การกระทำความผิดของผู้ให้บริการ(มาตรา 15, มาตรา 26)
6. การเปิดเผยข้อมูลของพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 24)
ข้อแนะนำสำหรับผู้ใช้บริการ
-อย่าบอก password ตนเองแก่บุคคลอื่น
-อย่านำ user ID และ password ของบุคคลอื่นมาใช้งานหรือเผยแพร่
-อย่าส่ง (send) หรือส่งต่อ (forward) ภาพ ข้อความ หรือภาพเคลื่อนไหวที่ผิดกฎหมาย
-อย่าให้บุคคลอื่นที่ไม่รู้จักมายืมใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์
-การติดตั้งระบบเครือข่ายไร้สายควรจะมีระบบป้องกันมิให้บุคคลอื่นแอบใช้งานโดยมิได้รับอนุญาต
วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553
กิจกรรมสัปดาห์ที่ 10 แนวโน้มการวิจัยเทคโนโลยีการศึกษา
วันที่ 9 สิงหาคม 2553
นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ของรัฐเกี่ยวกับการจัดการด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยกำหนดขอบเขตครอบคลุมไปถึงการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาบุคลากร การวิจัย การจัดตั้งกองทุนและหน่วยงานกลางเพื่อวางนโยบายและบริหารงานเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการศึกษา
รัฐบาลได้ให้ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ โดยได้กำหนดกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย ในการให้ประชาชนคนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เพื่อการพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยได้รับบริการที่ทั่วถึงเท่าเทียม มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ นำไปสู่การสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
การวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
ต้องยึดถือในกรอบความเป็นเทคโนโลยีการศึกษา
-หลักการทางเทคโนโลยีการศึกษา
-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
หลักการทางเทคโนโลยีการศึกษา
เป็นนักออกแบบและจัดการการเรียนรู้ ระหว่างคนสู่คน โดยใช้วิธีระบบ การออกแบบระบบการเรียนและสภาพแวดล้อมทางการเรียนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเป็นภารกิจหลักของนักเทคโนโลยีทางการศึกษา
ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทำให้เกิดความท้าทายจากวิทยาการที่เปลี่ยนไป
2. ต้องการพิสูจน์ทฤษฎีใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น
3. แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการศึกษาสมัยใหม่
ลักษณะการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
1. เป็นการวิจัยที่นำเอาวิธีการใหม่ ๆ มาจากแหล่งอื่นในสภาพการณ์ต่างที่ต่างกัน เพื่อมาทดลองในที่ใหม่ สภาพการณ์ใหม่
2. เป็นการวิจัยที่ดัดแปลง ขยายหรือเสริมแต่งความคิดและวิธีการเดิม
แล้วนำมาทดลอง เพื่อดูว่าใช้ได้ผลในขณะนี้หรือไม่ เพียงใด?
3. เป็นการวิจัยที่จะฟื้นฟูสิ่งที่เคยทำไว้ก่อนแล้วแต่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์
4. เป็นการวิจัยที่มีสภาพการณ์ใหม่ ซึ่งในอดีตไม่ปัจจัยต่าง ๆ ไม่เอื้ออำนวย
5. เป็นการวิจัยในสิ่งที่ได้คิดค้นขึ้นมาใหม่
ลำดับขั้นในการดำเนินการวิจัย
1.เลือกหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมความรู้พื้นฐาน และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
3.ให้คำจำกัดความหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย
4.สร้างสมมติฐาน
5.พิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล
6.สร้างเครื่องมือที่จะใช้ในการวิจัย
7.การเก็บรวบรวมข้อมูล
8.การจัดกระทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
9.ตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุป
10.การเขียนรายงานการวิจัยและการจัดพิมพ์
การเปลี่ยนแปลงและทิศทางของการศึกษา
แนวคิดด้านการศึกษาที่ทำให้เกิดทิศทางและแนวโน้มของการเรียนการสอน และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามวิวัฒนาการและการปฏิวัติทางความรู้ (Knowledge Revolution) ทำให้กระบวนทัศน์การเรียนรู้และสถาบันการศึกษาเปลี่ยนไป จากการรวบรวมผลการศึกษาวิจัยพบการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของการเรียนรู้และสถาบันการศึกษา
ผลการศึกษาประเด็นของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน
ผลจากการปฏิรูปการศึกษาในอดีตทำให้ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังอยู่ในระยะรับผลของการปฏิรูปการศึกษา มีประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารและการจัดการทางการศึกษา การจัดตั้งองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและตามข้อบังคับของกฎหมาย การเรียน
การสอน การสนับสนุนด้านงบประมาณ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจ การใช้งบประมาณ และความก้าวหน้าทางวิชาชีพของบุคลากรการศึกษา
ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
1. การวิจัยจะเกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เช่น ระบบมัลติมีเดีย, Web-based Learning, E-learning และ Virtual Classroom ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศมาใช้ ทั้งระบบที่มีการเชื่อมต่อด้วยสายนำสัญญาณ และแบบไม่มีสาย หรือ Handheld and Wireless Technology
2. การวิจัยด้านการออกแบบการสอน หรือ Instructional Design ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของการเรียนที่เปลี่ยนแปลง เช่น การออกแบบการสอนแบบต่าง ๆ การใช้ยุทธวิธีการสอน การฝึกทักษะ และการใช้ Presentation Technologies
3. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศที่นำมาใช้กับการศึกษา เช่นการสอนและการสอบผ่านเครือข่าย Internet การสร้างบทเรียนและเรียนบนเครือข่าย Internetรวมทั้งระบบสารสนเทศอื่น ๆ เช่นระบบ Transaction Processing System, Management Information System, Decision Support System เป็นต้น
4. ด้านการเป็นผู้นำทางเทคโนโลยี หรือ Leadership in Technology และการสนับสนุนเงินทุนทางด้านการใช้เทคโนโลยี หรือ Funding for Technology
แนวโน้มเทคโนโลยีการศึกษาของต่างประเทศ
1. การควบคุมผู้เรียน
2. ยุทธศาสตร์การสอน
3. จิตวิทยาและเทคโนโลยีการศึกษา
4. การปฏิสัมพันธ์
5. งบประมาณและความคุ้มค่า
6. ความคิดสร้างสรรค์
7. ทฤษฎีพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยี
8. รูปแบบการเรียนรู้
9. การนำมาใช้และเผยแพร่
10. การสร้างทฤษฎี และการพัฒนาการเรียนการสอน
11. องค์ประกอบที่มีผลในการออกแบบการเรียนรู้
12. ผลของเทคโนโลยีต่อสังคม
ทิศทางและแนวโน้มหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา (ในประเทศไทย) 1.จะมีการทดลองใช้เทคโนโลยี www. เพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการหลักสูตรมากขึ้น และผลการวิจัยจะมีการแสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของการเรียนการสอนและลดข้อจำกัดของการเข้าถึงข้อมูลและการใช้เทคโนโลยี เป็นการเตรียมเข้าสู่ยุค E-Learning อย่างเต็มที่
2. จะมีการออกแบบระบบสารสนเทศ และใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้ทุกกลุ่ม ทั้งผู้ที่ทำงาน เด็ก ผู้พิการ ผู้ต้องขังและผู้สูงอายุ
3. จะมีการนำเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายมาใช้กับการศึกษาแบบเคลื่อนที่ (M-learning, U-learning) เช่น Mobile Phone (โทรศัพท์มือถือ) PDA และ Wi-Fi Technology สำหรับ Internet
4. จะมีการรับรองมาตรฐานของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศขึ้นโดยมีกระบวนการและวิธีการรับรองมาตรฐานที่แตกต่างไปจากการรับรองมาตรฐานการผลิตผู้จบการศึกษาที่เป็นอยู่
5. จะมีการออกแบบโปรแกรมใหม่ ๆ นวัตกรรมการสอน และมีวิธีการสอนใหม่ๆ เกิดขึ้นตามศักยภาพของเทคโนโลยีที่มีมากขึ้น
6. จะมีการจัดกรอบความคิดใหม่เกี่ยวกับความหมายและคุณลักษณะของการเรียนการสอนที่ดีและสิ่งแวดล้อมการเรียนที่ดีซึ่งมีเทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมสำคัญของการเรียน(การออกแบบ
7. จะมีการขยายขอบข่ายของการเรียนการสอนไปได้ไกลขึ้น เริ่มคิดถึงภาพรวมทั้งโลกมากกว่าระดับชุมชนหรือระดับชาติเท่านั้น สถานศึกษาจะมีวิทยาเขตได้ทุกแห่งในโลกที่มี Internet ไปถึง มีการเข้าสู่การเป็นสากลด้วยการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวนำ
สรุป
การวิจัยเป็นกระบวนการที่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และวิธีระบบในการแสวงหาคำตอบให้แก่ปัญหาหรือคำถามต่าง ๆ เพื่อให้ได้คำตอบที่น่าเชื่อถือ กระบวนการวิจัยเป็นกระบวนการในการแสวงหาและสร้างองค์ความรู้ใหม่ การวิจัยทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งยืนอยู่บนกรอบแนวคิดในศาสตร์และขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงเป็นตัวบ่งชี้สำคัญในความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการศึกษา
ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยเพื่อการนำเทคโนโลยีมาใช้ทางการศึกษาซึ่งก็คือ
นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา
นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ของรัฐเกี่ยวกับการจัดการด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยกำหนดขอบเขตครอบคลุมไปถึงการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาบุคลากร การวิจัย การจัดตั้งกองทุนและหน่วยงานกลางเพื่อวางนโยบายและบริหารงานเกี่ยวกับ เทคโนโลยีการศึกษา
รัฐบาลได้ให้ความสำคัญในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ โดยได้กำหนดกรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย ในการให้ประชาชนคนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เพื่อการพัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยได้รับบริการที่ทั่วถึงเท่าเทียม มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ นำไปสู่การสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
การวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
ต้องยึดถือในกรอบความเป็นเทคโนโลยีการศึกษา
-หลักการทางเทคโนโลยีการศึกษา
-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา
หลักการทางเทคโนโลยีการศึกษา
เป็นนักออกแบบและจัดการการเรียนรู้ ระหว่างคนสู่คน โดยใช้วิธีระบบ การออกแบบระบบการเรียนและสภาพแวดล้อมทางการเรียนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเป็นภารกิจหลักของนักเทคโนโลยีทางการศึกษา
ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
1. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทำให้เกิดความท้าทายจากวิทยาการที่เปลี่ยนไป
2. ต้องการพิสูจน์ทฤษฎีใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น
3. แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการศึกษาสมัยใหม่
ลักษณะการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
1. เป็นการวิจัยที่นำเอาวิธีการใหม่ ๆ มาจากแหล่งอื่นในสภาพการณ์ต่างที่ต่างกัน เพื่อมาทดลองในที่ใหม่ สภาพการณ์ใหม่
2. เป็นการวิจัยที่ดัดแปลง ขยายหรือเสริมแต่งความคิดและวิธีการเดิม
แล้วนำมาทดลอง เพื่อดูว่าใช้ได้ผลในขณะนี้หรือไม่ เพียงใด?
3. เป็นการวิจัยที่จะฟื้นฟูสิ่งที่เคยทำไว้ก่อนแล้วแต่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์
4. เป็นการวิจัยที่มีสภาพการณ์ใหม่ ซึ่งในอดีตไม่ปัจจัยต่าง ๆ ไม่เอื้ออำนวย
5. เป็นการวิจัยในสิ่งที่ได้คิดค้นขึ้นมาใหม่
ลำดับขั้นในการดำเนินการวิจัย
1.เลือกหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมความรู้พื้นฐาน และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
3.ให้คำจำกัดความหัวข้อปัญหาที่จะทำการวิจัย
4.สร้างสมมติฐาน
5.พิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล
6.สร้างเครื่องมือที่จะใช้ในการวิจัย
7.การเก็บรวบรวมข้อมูล
8.การจัดกระทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล
9.ตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุป
10.การเขียนรายงานการวิจัยและการจัดพิมพ์
การเปลี่ยนแปลงและทิศทางของการศึกษา
แนวคิดด้านการศึกษาที่ทำให้เกิดทิศทางและแนวโน้มของการเรียนการสอน และการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตามวิวัฒนาการและการปฏิวัติทางความรู้ (Knowledge Revolution) ทำให้กระบวนทัศน์การเรียนรู้และสถาบันการศึกษาเปลี่ยนไป จากการรวบรวมผลการศึกษาวิจัยพบการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ของการเรียนรู้และสถาบันการศึกษา
ผลการศึกษาประเด็นของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบัน
ผลจากการปฏิรูปการศึกษาในอดีตทำให้ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังอยู่ในระยะรับผลของการปฏิรูปการศึกษา มีประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารและการจัดการทางการศึกษา การจัดตั้งองค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและตามข้อบังคับของกฎหมาย การเรียน
การสอน การสนับสนุนด้านงบประมาณ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจ การใช้งบประมาณ และความก้าวหน้าทางวิชาชีพของบุคลากรการศึกษา
ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
1. การวิจัยจะเกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เช่น ระบบมัลติมีเดีย, Web-based Learning, E-learning และ Virtual Classroom ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศมาใช้ ทั้งระบบที่มีการเชื่อมต่อด้วยสายนำสัญญาณ และแบบไม่มีสาย หรือ Handheld and Wireless Technology
2. การวิจัยด้านการออกแบบการสอน หรือ Instructional Design ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ของการเรียนที่เปลี่ยนแปลง เช่น การออกแบบการสอนแบบต่าง ๆ การใช้ยุทธวิธีการสอน การฝึกทักษะ และการใช้ Presentation Technologies
3. การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศที่นำมาใช้กับการศึกษา เช่นการสอนและการสอบผ่านเครือข่าย Internet การสร้างบทเรียนและเรียนบนเครือข่าย Internetรวมทั้งระบบสารสนเทศอื่น ๆ เช่นระบบ Transaction Processing System, Management Information System, Decision Support System เป็นต้น
4. ด้านการเป็นผู้นำทางเทคโนโลยี หรือ Leadership in Technology และการสนับสนุนเงินทุนทางด้านการใช้เทคโนโลยี หรือ Funding for Technology
แนวโน้มเทคโนโลยีการศึกษาของต่างประเทศ
1. การควบคุมผู้เรียน
2. ยุทธศาสตร์การสอน
3. จิตวิทยาและเทคโนโลยีการศึกษา
4. การปฏิสัมพันธ์
5. งบประมาณและความคุ้มค่า
6. ความคิดสร้างสรรค์
7. ทฤษฎีพื้นฐานในการใช้เทคโนโลยี
8. รูปแบบการเรียนรู้
9. การนำมาใช้และเผยแพร่
10. การสร้างทฤษฎี และการพัฒนาการเรียนการสอน
11. องค์ประกอบที่มีผลในการออกแบบการเรียนรู้
12. ผลของเทคโนโลยีต่อสังคม
ทิศทางและแนวโน้มหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีการศึกษา (ในประเทศไทย) 1.จะมีการทดลองใช้เทคโนโลยี www. เพื่อการศึกษาและการบริหารจัดการหลักสูตรมากขึ้น และผลการวิจัยจะมีการแสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของการเรียนการสอนและลดข้อจำกัดของการเข้าถึงข้อมูลและการใช้เทคโนโลยี เป็นการเตรียมเข้าสู่ยุค E-Learning อย่างเต็มที่
2. จะมีการออกแบบระบบสารสนเทศ และใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนให้สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้ทุกกลุ่ม ทั้งผู้ที่ทำงาน เด็ก ผู้พิการ ผู้ต้องขังและผู้สูงอายุ
3. จะมีการนำเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายมาใช้กับการศึกษาแบบเคลื่อนที่ (M-learning, U-learning) เช่น Mobile Phone (โทรศัพท์มือถือ) PDA และ Wi-Fi Technology สำหรับ Internet
4. จะมีการรับรองมาตรฐานของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศขึ้นโดยมีกระบวนการและวิธีการรับรองมาตรฐานที่แตกต่างไปจากการรับรองมาตรฐานการผลิตผู้จบการศึกษาที่เป็นอยู่
5. จะมีการออกแบบโปรแกรมใหม่ ๆ นวัตกรรมการสอน และมีวิธีการสอนใหม่ๆ เกิดขึ้นตามศักยภาพของเทคโนโลยีที่มีมากขึ้น
6. จะมีการจัดกรอบความคิดใหม่เกี่ยวกับความหมายและคุณลักษณะของการเรียนการสอนที่ดีและสิ่งแวดล้อมการเรียนที่ดีซึ่งมีเทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมสำคัญของการเรียน(การออกแบบ
7. จะมีการขยายขอบข่ายของการเรียนการสอนไปได้ไกลขึ้น เริ่มคิดถึงภาพรวมทั้งโลกมากกว่าระดับชุมชนหรือระดับชาติเท่านั้น สถานศึกษาจะมีวิทยาเขตได้ทุกแห่งในโลกที่มี Internet ไปถึง มีการเข้าสู่การเป็นสากลด้วยการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวนำ
สรุป
การวิจัยเป็นกระบวนการที่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และวิธีระบบในการแสวงหาคำตอบให้แก่ปัญหาหรือคำถามต่าง ๆ เพื่อให้ได้คำตอบที่น่าเชื่อถือ กระบวนการวิจัยเป็นกระบวนการในการแสวงหาและสร้างองค์ความรู้ใหม่ การวิจัยทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งยืนอยู่บนกรอบแนวคิดในศาสตร์และขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา จึงเป็นตัวบ่งชี้สำคัญในความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการศึกษา
ทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยเพื่อการนำเทคโนโลยีมาใช้ทางการศึกษาซึ่งก็คือ
นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)